รีวิวซีรีส์ Dota: Dragon’s Blood

ความความน่าตื่นตาตื่นใจแรก ๆ ของแฟนเกมที่คงมีต่อการดัดแปลงไปในสื่ออื่นอย่างหนังหรือซีรีส์ คงไม่พ้นการทำลายคุณค่าของผลงานดั้งเดิมอย่างเช่นที่เกมหลาย ๆ เกมล้วนเผชิญมาถ้วนหน้า ยิ่งสตูดิโอผู้สร้างครั้งนี้คือ ‘สตูดิโอเมียร์ (Studio Mir)’ สตูดิโอสัญชาติเกาหลีที่ก่อตั้งจากอดีตผู้กำกับซีรีส์ ‘Avatar: The Last Airbender’ และมีผลงานเด่นในลายเส้นแบบคอมิกสไตล์ตะวันตกอย่าง ‘The Legend of Korra’ ดูอนิเมะออนไลน์

 

รีวิวซีรีส์ Dota: Dragon’s Blood

 

เริ่มมาจับใจความแนวเด็กโตด้วยเนื้อหาที่ผู้ใหญ่ขึ้นในปี 2018 อย่าง ‘The Death of Superman’ ซึ่งอย่างที่บอกมันมีโอกาสสูงเหมือนกันที่จะถ่ายทอดตัวเกมที่ซับซ้อนออกมาได้กลิ่นเดิม และดูสนุก

ผู้ควบคุมงานสร้างอย่าง แอชลีย์ เอ็ดเวิร์ด มิลเลอร์ (Ashley Edward Miller) ซึ่งเคยเขียนบทหนังอย่าง ‘Thor’ (2011) และ ‘X: First Class’ (2011) รวมถึงซีรีส์ ‘Terminator: The Sarah Connor Chronicles’ (2008-2009) มาก่อน

เมื่อมาคุมการเล่าเรื่องในแอนิเมชันซีรีส์เรื่องนี้ เขาก็สามารถคงเอกลักษณ์ของตัวละครดังในเกม เอามาเล่าเรื่องรวมกันได้อย่างน่าสนใจมาก ๆ

มันเป็นรสประหลาดที่ไม่ได้เจอกันบ่อย ๆ เพราะมันย่อยยากสากลิ้น แต่อร่อยแบบทานยากนี่ล่ะ ใช่ มันคือรสชาติดาร์ก ๆ แบบผู้ใหญ่ ที่บอกว่าเหล้าขม ๆ มันหอมหวานนั่นเอง

สร้างจากเกม ‘DOTA’ ที่มีผู้เล่นมากที่สุดเกมหนึ่งของโลก ซึ่งสั่งสมความนิยมของตัวละครฮีโรในเกมของพวกเขาด้วยภูมิหลังและฝักฝ่ายที่ซับซ้อนชวนติดตาม ก็ได้รับการต่อยอดมาสู่แอนิเมชันซีรีส์ความยาว 8 ตอนทางเน็ตฟลิกซ์ และต้องยอมรับจริง ๆ ว่าคงไม่มีอะไรลงตัวไปมากกว่านี้อีกแล้ว  ดูอนิเมะ

 

รีวิวซีรีส์ Dota: Dragon’s Blood

 

การล่าสังหารมังกรของ พระเอกหนุ่มอย่าง ดาเวียน ดรากอนไนท์ ชายผู้สูญเสียครอบครัวไปด้วยฝีมือมังกรและปฏิญาณตนว่าจะล่าสังหารมังกรให้ได้มากที่สุดเพื่อป้องกันเด็ก ๆ ที่จะมีชะตากรรมแบบเดียวกับเขา ก่อนที่เขาจะไปพัวพันกับการแย่งชิงอำนาจของพลังเหนือโลกจนบังเอิญไปผสานชีวิตกับมังกรที่ตนรังเกียจกลายเป็นคำสาปที่เขาต้องหาทางแก้ไข ซึ่งนี้เป้นเหมือนเส้นเรื่องหลักที่แทนสายตาผู้ชมติดตามดาเวียนออกไปสัมผัสโลกเวทย์มนต์และมังกรได้อย่างเข้าใจง่าย และน่าติดตามด้วยรสแบบดราม่าผสมการผจญภัย

หวั่นใจแรก ๆ ของแฟนเกมที่คงมีต่อการดัดแปลงไปในสื่ออื่นอย่างหนังหรือซีรีส์ คงไม่พ้นการทำลายคุณค่าของผลงานดั้งเดิมอย่างเช่นที่เกมหลาย ๆ เกมล้วนเผชิญมาถ้วนหน้า ยิ่งสตูดิโอผู้สร้างครั้งนี้คือ ‘สตูดิโอเมียร์ (Studio Mir)’ สตูดิโอสัญชาติเกาหลีที่ก่อตั้งจากอดีตผู้กำกับซีรีส์ ‘Avatar: The Last Airbender’ และมีผลงานเด่นในลายเส้นแบบคอมิกสไตล์ตะวันตกอย่าง ‘The Legend of Korra’

แนวเด็กโตด้วยเนื้อหาที่ผู้ใหญ่ขึ้นในปี 2018 อย่าง ‘The Death of Superman’ ซึ่งอย่างที่บอกมันมีโอกาสสูงเหมือนกันที่จะถ่ายทอดตัวเกมที่ซับซ้อนออกมาได้กลิ่นเดิม และดูสนุก

ผู้ควบคุมงานสร้างอย่าง แอชลีย์ เอ็ดเวิร์ด มิลเลอร์ (Ashley Edward Miller) ซึ่งเคยเขียนบทหนังอย่าง ‘Thor’ (2011) และ ‘X: First Class’ (2011) รวมถึงซีรีส์ ‘Terminator: The Sarah Connor Chronicles’ (2008-2009) มาก่อน เมื่อมาคุมการเล่าเรื่องในแอนิเมชันซีรีส์เรื่องนี้ เขาก็สามารถคงเอกลักษณ์ของตัวละครดังในเกม เอามาเล่าเรื่องรวมกันได้อย่างน่าสนใจมาก ๆ

บอกว่ามันเป็นรสประหลาดที่ไม่ได้เจอกันบ่อย ๆ เพราะมันย่อยยากสากลิ้น แต่อร่อยแบบทานยากนี่ล่ะ ใช่ มันคือรสชาติดาร์ก ๆ แบบผู้ใหญ่ ที่บอกว่าเหล้าขม ๆ มันหอมหวานนั่นเอง

รีวิวซีรีส์ Dota: Dragon’s Blood

ซีรีส์เปิดตัวด้วยการล่าสังหารมังกรของ พระเอกหนุ่มอย่าง ดาเวียน ดรากอนไนท์ ชายผู้สูญเสียครอบครัวไปด้วยฝีมือมังกรและปฏิญาณตนว่าจะล่าสังหารมังกรให้ได้มากที่สุดเพื่อป้องกันเด็ก ๆ ที่จะมีชะตากรรมแบบเดียวกับเขา ก่อนที่เขาจะไปพัวพันกับการแย่งชิงอำนาจของพลังเหนือโลกจนบังเอิญไปผสานชีวิตกับมังกรที่ตนรังเกียจกลายเป็นคำสาปที่เขาต้องหาทางแก้ไข ซึ่งนี้เป้นเหมือนเส้นเรื่องหลักที่แทนสายตาผู้ชมติดตามดาเวียนออกไปสัมผัสโลกเวทย์มนต์และมังกรได้อย่างเข้าใจง่าย และน่าติดตามด้วยรสแบบดราม่าผสมการผจญภัยรีวิวการ์ตูนออนไลน์

 

รีวิวซีรีส์ Dota: Dragon’s Blood

 

พอถึงตอนที่ 8 ในซีซันแรกได้จบลง และเราพบทางที่ตัวละครแต่ละตัวเลือก ปริศนาภูมิหลังตัวละครจะคลี่คลายมากขึ้น เห็นฝั่งฝ่ายที่แบ่งชัดเจน แต่มันไม่มีขาวดำ เพราะออกเทา ๆ แทบทุกตัวละคร มันทำให้เห็นล่วงหน้าได้เลยว่าซีซันเปิดตัวยังกระหน่ำรสบู๊และคมคิดได้ขนาดนี้ ซีซันหน้า (ซึ่งคงต้องมี) มันต้องไปได้สุดติ่งอีกขนาดไหน

ยังมีความน่าตื่นเต้นสิ่งที่ทำให้แอนิเมชันเรื่องนี้ไม่เครียดและปรัชญาเกินไป คือฉากการต่อสู้ที่บอกเลยว่าโคตรอลังการ มันมีตั้งแต่นักรบเก่ง ๆ ดวลกัน ไปจนถึงคนปะทะมังกรยักษ์ และมังกรยักษ์ฟัดกันเอง มีทั้งบนพื้น ในป่า บนฟ้า

คือสเกลมันใหญ่มาก แต่กลับไม่เว่อ เราอินได้แทบทุกฉาก ลุ้นเอาใจช่วยได้ตลอดจริง ๆ ด้วยเรตแบบ 18+ ที่ถึงเลือดถึงเนื้อ แถมตัวละครก็ตายกันได้จริง ๆ (แค่จบตอนแรกเราก็มีเหวอแล้ว)

บอกว่าซีรีส์นี้ต้องจัดเป็นดาร์กแฟนตาซีแบบรสขม เหมือนหนังสือวรรณกรรมผู้ใหญ่ที่อ่านยาก ไม่ค่อยอธิบาย แต่ชวนสงสัยและติดตาม มีตัวละครหลากหลายกลุ่มที่มีเจตนาของตนเองเข้ามาปะทะและผสมผสานจนเนื้อเรื่องขับเคลื่อนไปอย่างเข้มข้น หยุดดูไม่ได้เลย

 

 

คนไม่ได้เล่นเกมมันเหมือนการอ่านหนังสือสนุก ๆ แบบเปิดอ่านผ่ามากลางเล่มแล้วเข้าช่วงมัน ๆ พอดี แต่กับคนที่เล่นเกมยิ่งจะน่าฟินเข้าไปอีกเพราะได้เห้นตัวละครที่เล่นมีชีวิตจิตใจตรงหน้า และถ้ากลัวว่าจะหมดลุ้นเพราะรู้จักภูมิหลังมาแล้ว ขอโทษตัวซีรีส์ใส่ตัวละครใหม่ ๆ แถมไม่ได้มาแค่ประกอบ ๆ ไปเท่านั้น แต่มีเส้นเรื่อง มีมิติตัวละครที่โคตรน่าสนใจทั้งยังส่งผลสำคัญกับเนื้อเรื่องด้วย แฟนเกมน่าจะเดาอะไร ๆ ยากขึ้น รับรองเบื่อไม่ลงแน่

ซีรีส์ไม่ได้เล่าอะไรง่าย ๆ นักเลย แค่ฉากการพรรณนาการกำเนิดโลก และการต่อสู้แย่งชิงอำนาจของพลังความดีความชั่ว มิติจักรวาลช่วยต้นตอนแรกก็บอกได้เลย เต็มไปด้วยชื่อแปลก ๆ สำหรับคนไม่ได้เล่นเกม คือโคตรงง งงจริง ๆ พอจับใจความภูมิหลังของโลกในเรื่องแทบไม่ได้ ซ้ำระหว่างทางของตัวละครที่ต้องพบเจอตัวละครใหม่ ๆ เผ่าใหม่ ๆ ความเชื่อต่อเทพีที่แตกต่างกัน

 

 

ผู้สร้างก็ไม่ได้สนใจมานั่งอธิบายว่าอะไรเป็นอะไร ซ้ำร้ายบางครั้งเราได้ดูเพียงตัวละครอ่านหนังสือแล้วได้เข้าใจอะไรบางอย่าง ซึ่งเราไม่เห็นไม่ทราบด้วยเลยก็มี

เพราะแทนทีมันจะถีบยอดหน้าผู้ชมให้ออกห่าง แต่มันกลับสร้างความอยากรู้อยากเห็น เพิ่มเพ่งสมาธิในการทำความเข้าใจเรื่องมากขึ้น แล้วมันก็ไม่ได้ยากนักที่จะเข้าใจในที่สุด พอเรื่องเล่าไปแล้วเราเข้าใจอะไรมากขึ้นมันก็ขยายความคิดของผู้ชมออกไปอย่างกว้างขวาง และพบว่าโลกนี้มันสีเทา ตัวละครอยู่บนทางหลายแพร่งมากทางเลือกที่ไม่รู้ผิดรู้ถูก เป็นความฟินในการชมที่บันเทิงสมองมาก ๆ

 

 

ความรู้สึกหลังดู

ฉันเดาว่าผู้สร้างรู้สึกถึงสไตล์ “อะนิเมะ CG” (โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อแปลงวัตถุ 3D เป็น pseudo-2D cel-shading) ของรายการดั้งเดิมของ Netflix ที่ “เย็นเกินไป” เมื่อเทียบกับอะนิเมะแบบดั้งเดิม – เพราะพวกเขาพยายามทำให้ดูมากกว่านี้ วาดด้วยดินสอมากกว่าที่เป็นอยู่ และพวกเขาได้เพิ่มฉากนิ่งเพื่อพยายามให้เข้ากับรูปแบบเศรษฐกิจของอะนิเมะแบบดั้งเดิม หมายเหตุด้านข้าง

นี่คือความลงตัวที่โครตสุดโครตปังแล้วล่ะสำหรับคนที่ชื่นชอบดาร์กแฟนตาซีมัน ๆ เรื่องหนึ่ง อดใจรอไม่ไหวเลยจริง ๆ คนเขียนบทเก่งมากดึงเสน่ห์ของเกมมาสร้างเรื่องราวได้น่าสนใจสุด ๆ แอนิเมชันทำได้สนุกมากโดยเฉพาะในฉากแอ็กชันที่โคตรตระการตาและมันมาก ๆ เนื้อเรื่องเข้าใจยากด้วยชื่อแปลก ๆ จำนวนมาก และการไม่ค่อยจะอธิบายต้องค่อย ๆ รีวิวอนิเมะ

 

 

ซึบซับเข้าใจไปเอง นอกจากนี้การแปลซับและการแปลบทพากย์ก็ให้ความหมายคนละแบบในบางช่วงทำให้ไม่แน่ใจว่าเข้าใจเนื้อเรื่องถูกต้องหรือไม่ นอกจากนี้การนำเสนอแบบคอมิกตะวันตกก็จะรู้สึกว่าตัวละครแข็ง ๆ หน่อย คนดูแอนิเมะอาจขัดใจนิด ๆ

โดยส่วนตัวแล้วฉันหวังว่าพวกเขาจะใช้รูปแบบการแสดงที่ลื่นไหลและทันสมัยเช่น Castlevania ซึ่งฉันชอบมากกว่าอะนิเมะแบบดั้งเดิมที่ประหยัดกว่า) ไม่ว่าในกรณีใด ฉากแอคชั่นหลายฉากจะเป็นแอนิเมชั่นที่สวยงาม ในขณะที่การแสดงโดยรวมได้รับผลกระทบจากสไตล์แอนิเมชั่น . และสำหรับฉัน เรื่องราวแฟนตาซีนั้นไม่น่าสนใจหรือน่าเชื่อนักในตำนานของตัวเอง

ฉันไม่ใช่แฟนของเกม ฉันเล่นมันสองสามครั้งแต่ไม่เคยไปไกลกว่านั้นเลย ดังนั้นฉันจึงไม่สามารถแสดงความคิดเห็นได้ว่าเนื้อหาดั้งเดิมนั้นจริงแค่ไหน อย่างไรก็ตาม ฉันค่อนข้างประทับใจกับซีรีส์แอนิเมชั่นเรื่องนี้ เนื่องจากมีลักษณะเฉพาะ บทสนทนา และการเล่าเรื่องที่ยอดเยี่ยม ข้อร้องเรียนเพียงอย่างเดียวของฉันคือ Elf Storyline นั้นซับซ้อนอยู่ครู่หนึ่ง ดังนั้นฉันจึงไม่แน่ใจว่าเกิดอะไรขึ้น นี่คือเหตุผลที่ฉันให้แค่ 8 เต็ม 10 ดาว แม้ว่าฉันจะแนะนำซีรีย์นี้มาก แต่ก็เป็นซีรีย์แฟนตาซีที่ค่อนข้างดี ชื่นชอบการรีวิวของเรา สามารถติดตามการรีวิวของเรา มาดูกันเลย!! รีวิวหนังการ์ตูน